เป้าหมาย (Understanding Goal) :

1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างสมดุล

2. เห็นคุณค่า และความสัมพันธ์ของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับมนุษย์ รวมทั้งรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม เพื่อทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพคงอยู่ต่อไปได้

Main

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)


คำถามหลัก (Big Question) :  สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีกระบวนการในการปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างไร

ภูมิหลังของปัญหา :
 สิ่งมีชีวิตในโลกมีมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีความแตกต่างกัน อาทิ เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม  แหล่งที่อยู่อาศัย รูปแบบการเจริญเติบโต  และการขยายพันธุ์   โดยมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจะมีความสัมพันธ์กันทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ กับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ที่นับวันจะเสื่อมโทรมลง นั้นคือกระบวนการปรับตัว ด้วยวิธีการพิเศษของสิ่งมีชีวิตแต่ละสิ่ง เริ่มตั้งแต่ จุลชีวิตขนาดเล็กไปจนถึงสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่  และในร่างกายของเรามีสิ่งมีชีวิตมากมายมหาศาลที่อาศัยอยู่ตามอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย ซึ่งมีทั้งส่งผลดีต่อร่างกายช่วยในการต่อต้านและทำลายเชื้อโรคในร่างกาย และผลเสียต่อร่างกาย ทำให้ร่างกายอ่อนแอส่งผลทำให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมา
ดังนั้นจึงจำเป็นที่นักเรียนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ กระบวนการดำเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวเข้ากับรูปแบบของธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันโดยพึ่งพาอาศัยกันได้อย่างสมดุลและดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ

เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goals) :
1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างสมดุล
2. เห็นคุณค่า และความสัมพันธ์ของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับมนุษย์ รวมทั้งรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม เพื่อทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพคงอยู่ต่อไปได้

ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ  PBL (Problem Based Learning)
หน่วย   "พันล้านชีวิตรอบตัวเรา"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  Quarter 3  ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Process
Output
Outcome
กิจกรรมระยะยาว
1
โจทย์
สร้างแรงบันดาลใจ /สร้างฉันทะ
Key  Question
 - นักเรียนสังเกตเห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Round Rubin
Round table
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในโรงเรียน
- คลิป กำเนิดของโลกและสิ่งมีชีวิตทั้งมวล
- คลิป  สารเคมีอันตราย
- ก้อนเห็ด  
- ใบไม้ กิ่งไม้ที่กำลังย่อยสลาย
- นักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตในโรงเรียน
- นักเรียนวาดภาพและเขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเดินสำรวจบริเวณโรงเรียน
นักเรียนดูคลิป กำเนิดของโลกและสิ่งมีชีวิตทั้งมวล
- ครูให้นักเรียนสำรวจสิ่งมีชีวิตที่บ้านของตนเอง
- นักเรียนสังเกตก้อนเชื้อเห็ด  เพลี้ยใบไม้   ใบไม้ที่กำลังย่อยสลาย
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ สารเคมีอันตราย ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตเล็กๆ
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- เดินสำรวจและเขียนสรุปสิ่งเห็นจากการสำรวจ
 
- นำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป กำเนิดของโลกและสิ่งมีชีวิตทั้งมวล
ชิ้นงาน
- เขียนสรุปสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้/ความรู้สึก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ รวมทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่สนใจได้
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 - สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
2
โจทย์
วางแผนและออกแบบกระบวนการเรียนรู้
Key  Questions
นักเรียนคิดว่าชื่อหน่วยที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
นักเรียนคิดว่าตนเองต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร?
เครื่องมือคิด
 Card & Chart
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
Mind  Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- บทความ
 สิ่งมหัศจรรย์โลกจุลินทรีย์                                                     
ห้องเรียน
กระดาษชาร์ต
- นักเรียนดูคลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- นักเรียนอ่านบทความ
 สิ่งมหัศจรรย์โลกจุลินทรีย์                                                     
แจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคน โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ โดย 1 เรื่อง ต่อการ์ด 1 แผ่น (Card & Chart)
จัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
เขียนสิ่งที่อยากรู้
( Think Pair Share )
ตั้งชื่อโครงงาน
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้  20  สัปดาห์
- นักเรียนนำเสนอปฏิทินของ
- ทำ Mind Mapping ก่อนเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 

ภาระงาน
- ดูคลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความ
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วย
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
  - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
อธิบายการออกแบบกระบวนการเรียนรู้และปฏิบัติตนตามสิทธิ หน้าที่ในการทำงานกลุ่มสามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
ทักษะ
ทักษะอยู่ร่วมกัน
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

3
โจทย์
- องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
Key  Questions
- องค์ประกอบและโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
Round Robin
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- บทความ
 สิ่งมหัศจรรย์โลกจุลินทรีย์                                                      
- นักเรียนดูคลิป องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
- ส่องกล้องจุลทรรศน์ดูเซลล์พืช  เซลล์สัตว์ 
- เขียนโครงสร้างเซลล์พืช  เซลล์สัตว์ 
- แบ่งกลุ่มศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต พืช  สัตว์
- แต่ละกลุ่มนำเสนอองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างสิ่งมีชีวิต ในรูปแบบ Power Point 
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- การคลิป องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
- การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
- การสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ชิ้นงาน
- Power Point  คลิปวีดีโอ องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
-นำเสนอองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตและแหล่งที่มา โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดได้
 ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
มีความคิดสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


4
โจทย์
- เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Key  Questions
- เราจะมีวิธีการทดสอบสารอาหารประเภท โปรตีน  แป้ง น้ำตาลได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
Round Robin
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- บทความ
- ศึกษากระบวนการทดสอบทดสอบสารอาหาร
- การทดสอบสารอาหารประเภท โปรตีน  แป้ง น้ำตาล
- สรุปการทดลอง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- ศึกษากระบวนการทดสอบทดสอบสารอาหาร
- การทดลอง
ชิ้นงาน
- สรปการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสารมารถอธิบายขั้นตอนการทดสอบสารอาหารประเภท โปรตีน  แป้ง น้ำตาลได้
 ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
มีความคิดสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


5
โจทย์
- การทำงานของจุลินทรีย์
Key  Questions
- จุลินทรีย์มีกระบวนการทำงานอย่างไร เราจะนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Think  Pair Share
Brainstorms
Round Robin
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป นิทานชีวิต กำเนิดชีวิต
- บทความ
 สิ่งมหัศจรรย์โลกจุลินทรีย์                                                      
- นักเรียนเล่นเกมบันไดลิง จุลินทรีย์
- นักเรียนดูคลิปการย่อยสลายของแอปเปิ้ล
- สังเกตราที่เกิดบนแกนข้าวโพด  ข้าวเหนียว  ก้อนเห็ด ขนมปังและส่องกล้องจุลทรรศน์ดูลักษณะของจุลินทรีย์

- นักเรียนดูคลิป จุลลินทรีย์ก็เป็นอาหารได้

- ทดลองการย่อยสลายของจุลินทรีย์ (ใบไม้ กิ่งไม้  ซากสัตว์กระดาษทิชชู เศษอาหาร  )
- ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของจุลินทรีย์ (รา แบคทีเรีย ไวรัส  ยีสน์)

ภาระงาน
- ศึกษากระบวนการทดสอบทดสอบสารอาหาร
- การทดลอง
ชิ้นงาน
- สรปการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
กระบวนการทำงานของจุลินทรีย์ การนำจุลินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆได้
 ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
มีความคิดสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


6
โจทย์
ดิน / สิ่งมีชีวิตในดิน
Key  Questions
- ดินมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง
- เราจะมีวิธีการบำรุงดิน และปรับปรุงดินอย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ดิน
- อินเทอร์เน็ท
กระดาษชาร์ต
- ครูนำดินแต่ละชนิดให้นักเรียนดู
- นักเรียนสำรวจสิ่งมีชีวิตในดินแปลง หนึ่งงาน หนึ่งล้านแรงบันดาลใจ  และบริเวณโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ
สิ่งมีชีวิตในดิน
      - ประเภทของดิน
      - ประโยชน์ของดิน
      - การบำรุงดิน และปรับปรุงดิน
     - อาหารของจุลินทรีย์ในดิน
     - แหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ในดิน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอในรูปแบบชาร์ตความรู้
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ภาระงาน
- การสำรวจสิ่งมีชีวิตในดินแปลง หนึ่งงาน หนึ่งล้านแรงบันดาลใจ  และบริเวณโรงเรียน
- ศึกษาเกี่ยวกับ
สิ่งมีชีวิตในดิน
ชิ้นงาน
ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับดิน และสิ่งมีชีวิตในดิน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการอาศัยอยู่ของสิ่งมีชีวิตในดิน ประเภทของดิน รวมทั้งนำความรู้เกี่ยวกับการบำรุงดิน และปรับปรุงดินไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


7
โจทย์
การตรวจสอบคุณภาพในดิน
Key  Questions
- เราจะตรวจสอบคุณภาพของดินได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ดิน
กระดาษชาร์ต
- ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพในดิน วางแผนการทดลอง
- นักเรียนทดลองเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของดิน
- สรุปการทดสอบดิน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับดินในรูปแบบการ์ตูนช่อง
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ภาระงาน
- การศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพในดิน
- การทดลองเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของดิน
ชิ้นงาน
- สรุปการทดสอบดิน
- การ์ตูนช่องดิน / สิ่งมีชีวิตในดิน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพของดินได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

8
โจทย์
การทำน้ำหมักชีวภาพ
Key  Questions
- การทำน้ำหมักชีวภาพมีกระบวนการอย่างไรบ้าง

เครื่องมือคิด
 Card & Chart
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
ห้องเรียน
กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
กระดาษชาร์ต
- นักเรียนศึกษากระบวนการทำน้ำหมักชีวภาพ
- วางแผน เตรียมอุปกรณ์ในการทำน้ำหมักชีวภาพ
- ทำน้ำหมักชีวภาพ
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันพร้อมทั้งสรุปขั้นตอนการทำน้ำหมักชีวภาพ
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทำน้ำหมักชีวภาพ
- การทำน้ำหมักชีวภาพ
- การสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ชิ้นงาน
- น้ำหมักชีวภาพ
- ขั้นตอนการทำน้ำหมักชีวภาพ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพใช้เองได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


9
โจทย์
การหมักไวท์
Key  Questions
- นักเรียนจะสามารถเปลี่ยนน้ำผลไม้(ต้มกับน้ำตาล)ให้เป็นไวท์ผลไม้แต่ละประเภทได้อย่างไร
- เราจะหมักข้าวหมากและไวท์ให้มีคุณภาพได้อย่างไร

เครื่องมือคิด
 Card & Chart
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อุปกรณ์ในการทำไวน์                                            
ห้องเรียน
- ศึกษากระบวนการทำงานของจุลินทรีย์โดยการหมักไวท์และข้าวหมาก
- นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ในการหมักไวท์(ผลไม้ตามฤดูกาล)และข้าวหมาก(ชนิดของข้าว)
-นักเรียนลงมือหมักไวท์และข้าวหมากตามกระบวนการที่วางแผนไว้
- นักเรียนบันทึกผลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของไวท์และข้าวหมาก (ฟอง สี กลิ่น ค่า PH)
- ทดสอบคุณภาพของไวท์และข้าวหมาก (กลิ่น สี รสชาติ แอลกอฮอลล์)
- นักเรียนออกแบบบรรจุภัณฑ์
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของจุลินทรีย์โดยการหมักไวท์และข้าวหมาก
- การเตรียมอุปกรณ์ในการหมักไวท์
- การบันทึกผลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของไวท์และข้าวหมาก
- การสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- การออกแบบบรรจุภัณฑ์
ชิ้นงาน
- ไวท์และข้าวหมาก
- ขั้นตอนการไวท์และข้าวหมาก /บรรจุภัณฑ์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 

ความรู้
เข้าใจและสามารถเปลี่ยนน้ำผลไม้(ต้มกับน้ำตาล)ให้เป็นไวท์ผลไม้โดยการทำงานของยีสน์ รวมทั้งสามารถอธิบายขั้นตอนการทำไวน์ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


10
โจทย์
โรคกับร่างกาย
Key  Questions
นักเรียนคิดว่าเชื้อโรคที่อยู่รอบๆตัวเราเกิดขึ้นได้อย่างไร
- นักเรียนคิด ระบบคุ้มกันโรคในร่างกายเราเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ถ้าหากร่างกายของเราขาดภูมิคุ้มกันจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
 Card & Chart
Think  Pair Share
Blackboard  Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
                                           
ห้องเรียน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ  3 4 คน ศึกษาค้นคว้าดังนี้
 - เชื้อโรคต่างๆเช่น เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย  เชื้อรา   เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ พร้อมทั้งศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุ ลักษณะอาการ วิธีป้องกัน การดูแลสุขภาพ                               
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบการนำเสนอให้เพื่อนและครูฟังเช่น บทบาทสมมติ คลิปวิดีโอ วิทยากร เป็นต้น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนให้เพื่อนกลุ่มอื่นดูพร้อมทั้งตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา
- นักเรียนศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเช่น โรงพยาบาล เพื่อเก็บข้อมูลแล้วร่วมกันวางแผนเผยแพร่ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
นักเรียนเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปลื่อย โรคผิวหนัง  เป็นต้น
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :

- ดูเรื่องเล่า เสาร์-อาทิตย์  แพทย์อาสาติดเชื้ออีโบลา

- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อโรคต่างๆเช่น เชื้อไวรัส เชื้อแบคที่เรีย  เชื้อรา   เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ
- วางแผนออกแบบการนำเสนอ                                                    - การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปลื่อย โรคผิวหนัง  เป็นต้น
ชิ้นงาน :
- นำเสนอภูมิคุ้มกันในร่างกาย
- เผยแพร่ความรู้เรื่องโรค
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับกลไกการป้องกันและการทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม การเกิดโรคที่เกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกันและจากการได้รับเชื้อโรคต่างๆ  รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย ""

 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :  พันล้านชีวิตในตัวเรา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  Quarter 3  ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2558

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้ 
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 
(ว 8.1 ม.2/7)

- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น  ศาสนิกชนที่ดี 
(ส1.2.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(4.1  .2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
 (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
 (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
 (1.1 .2 /3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน  (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
 (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต  (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 .4-6 /6 )

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ (พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  (3.1.3/2)
มาตรฐาน  พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง  (3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
 (3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1  .2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน (2.2  .2/2)







สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
ร่างกาย/สิ่งมีชีวิต
- พืช การปลูกผักกินเอง
- สัตว์ การเลี้ยง ปลา
การออกแบบโรงเรือนเห็ด
มาตรฐาน ว1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
 (ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในโรงเรียน ท้องถิ่น และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้
(ว 2.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้ (ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตร ปลูกผักปลอดสารพิษและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ (ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้  (ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ 
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้  (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมารยาทของความเป็น  ศาสนิกชนที่ดี
 (ส1.2.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์(4.1  .2/2)

มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ   (1.1 .3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
  (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต  (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /6 )
มาตรฐาน   ง 2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อคลิปการทำเกษตร 
(ง 2.1 .2 /3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  (ง 2.1 .2 /4)
มาตรฐาน   ง 3.1
- ใช้ซอฟแวร์ในการทำงานเช่น Picasa 3, Sony vegas Pro 11 ได้  (ง 3.1 .2 /4)
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้  (ง 3.1 .3 /3)

- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 .3 /4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                           (3.1 .4-6/13)

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  (3.1.3/2)
มาตรฐาน  พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
 (3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (3.2 ม.3/5)

มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี                   -สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังแลภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ         (1.1.2/3)

มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้(2.1  .2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2  .2/2)





สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
จุลินทรีย์  รา แบคทีเรีย
- ประโยชน์และโทษของ จุลินทรีย์  รา แบคทีเรีย
- การทดสอบสารอาหาร
- การทำไวน์




มาตรฐาน ว 1.1
- อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจระบบประสาทที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการกินได้  (ว1.1 ม.2/1)
- อธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆของร่างกาย รวมทั้งสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งมีชีวิตที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายในได้
(ว1.1 ม.2/2-3)
- อธิบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันทางการเกษตร รวมทั้งนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
(ว1.1 ม.2/4)


- สามารถทดลองวิเคราะห์และอธิบายสารอาหารในอาหาร มีปริมาณพลังงาน และสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัยได้ 
(ว1.1 ม.2/5)
- อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และนำความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพได้                  (ว1.1 ม.4-6/4)
มาตรฐาน ว 1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ แหล่งอาหารในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
 (ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว 2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้ (ว 2.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้ (ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตรและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
(ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)

- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้  (ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น  ศาสนิกชนที่ดี  (ส1.2.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้  
(ส2.2 ม.2/2)


มาตรฐาน ส 4.1
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ (4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ   เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (1.1.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (1.1 .2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (1.1 .2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ  (1.1 .3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
  (ง 1.1 .4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต   (ง 1.1 .4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /6 )
มาตรฐาน   ง 2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อคลิปการเลือกซื้ออาหาร 
(ง 2.1 .2 /3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 .2 /4)
มาตรฐาน   ง 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้  (ง 3.1 .3 /3) 
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 .3 /4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(3.1 .4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ                           (3.1 .4-6/13)

มาตรฐาน  พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1.2/2)
มาตรฐาน  พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2.1.3/1 )
มาตรฐาน  พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                (3.1.3/2)
มาตรฐาน  พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง  (3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้                  (3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (3.2 ม.3/5)

มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี -สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
(1.1.2/3)


มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(2.1  .2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(2.1  .2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(2.1  .2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(2.1  .2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(2.1  .3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(2.2  .2/2)